ย้อนกลับไป ประมาณ 1200 ปี กล่าวกันว่า มีการบันทึกในประวัติศาสตร์เป็นครั้งแรกว่า เรื่องราวเกี่ยวกับ Karakuri ของญี่ปุ่น ได้เริ่มเกิดขึ้น ในยุคสมัย Heian หลังจากนั้น ในสมัย Muromachi มีการเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตาก เช่น อุปกรณ์เครื่องจักร ประเภทนาฬิกา และในศตวรรษที่ 17 จึงได้เริ่มมี "Karakuri" ที่เป็นของญี่ปุ่นเอง
สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ของคาราคุริในญี่ปุ่น คือ ตุ๊กตา Karakuri ที่มี "ตุ๊กตายกชา" และ เด็กยิงธนู ที่มีลูกธนูออกจากตะกร้า
ตุ๊กตายกชา
ตุ๊กตายิงธนู
ลักษณะพิเศษดังกล่าวของ Karakuri คือ การเคลื่อนไหวแบบ อนาล็อค ที่ไม่มีแรงขับเคลื่อนเชิงวิทยาศาสตร์ หรือ อุปกรณ์ควบคุม เช่น มอเตอร์ หรือ เซ็นเซอร์ แต่ เป็น การใช้ เกลียวสปริง หรือ ฟันเฟือง
Karakuri (คาราคุริ) คือ การเคลื่อนไหวที่ไม่ต้องอาศัยแรงที่ต้องสร้างขึ้นมา แต่ใช้กลไกในการขับเคลื่อนให้เกิดการเคลื่อนไว้
องค์กรส่วนใหญ่จึง เปลี่ยนมาใช้คาราคุริในการเคลื่อนย้าย และผลิตชิ้นงาน
โบรชัวร์ หลักสูตร
Karakuri : Low Cost Automation
อ่านรายละเอียด
DOJO (道場) เป็นภาษาญี่ปุ่น หมายถึง สถานที่สำหรับการฝึกปฏิบัติ
องค์กรญี่ปุ่นจึงสร้าง DOJO ในบริษัท เพื่อให้พนักงานได้ฝึกปฏิบัติจนเกิดความเข้าใจ มีความชำนาญ และส่งพนักงานลงปฏิบัติงานจริงในจุดต่าง ๆ ที่กำหนดไว้
เป็นสถานที่ฝึกออกแบบ ประกอบ ทดลอง กลไกที่ใช้สำหรับการสร้างผลงาน Karakuri
ชุดฝึก 9 ฐาน ประกอบด้วย
(กรุณาคลิกที่ภาพเพื่อดูรายละเอียดของชุดฝึก)
รอบชิงชนะเลิศ วันอาทิตย์ที่ 27 กันยายน 2563
เวลา 09.00 – 16.00 น.
สถานที่ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ซอยพัฒนาการ 18
ติดตามรับชม ผ่าน FB : ศูนย์บริการให้คำปรึกษา
สแกน QR Code ไปสู่ FB : ศูนย์บริการให้คำปรึกษา
รุ่น | วันที่ 1 | วันที่ 2 | วันที่ 3 | สมัครอบรม |
---|---|---|---|---|
P22PJ003SC | 6 ก.ค. 65 | 7 ก.ค. 65 | 8 ก.ค. 65 | https://www.tpif.or.th/WebDev/Booking_Form.php?BdgCode=P22PJ003SC&new_course |
P22PJ004SC | 21 พ.ย. 65 | 22 พ.ย. 65 | 23 พ.ย. 65 | https://www.tpif.or.th/WebDev/Booking_Form.php?BdgCode=P22PJ004SC&new_course |
P22PJ005SC | 1 ก.พ. 66 | 2 ก.พ. 66 | 6 ก.พ. 66 | https://www.tpif.or.th/WebDev/Booking_Form.php?BdgCode=P22PJ005SC&new_course |